“นมแม่” ลดความขัดแย้งเด็กตีกัน
ครอบครัว
ชี้!! การสัมผัสใกล้ชิดช่วยพัฒนาอีคิว
นพ.ชาตรี บานชื่น อธิบดีกรมสุขภาพจิต ระบุว่า นมแม่ช่วยในเรื่องการของที่เด็กโตขึ้นมาชอบทะเลาะวิวาทลดความขัดแย้งกัน เพราะจากข้อมูลวิชาการพบว่า นมแม่มีส่วนช่วยในเรื่องของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์หรืออีคิว
อีกทั้งการได้รับความรัก การสัมผัสใกล้ชิดจากมารดาขณะให้นมบุตรก็มีสานสัมพันธ์มีส่วนช่วยในการพัฒนาอีคิวด้วย ซึ่งแนวโน้มอีคิวของเด็กไทยน่าเป็นห่วงอย่างมาก เพราะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
เด็กตีกันเกิดจากปัจจัย 3-4 เรื่องได้แก่
1.ความแค้น โดยขาดการเจรจาต่อรอง ขาดอีคิวยับยั้งชั่งใจ
2.รุ่นพี่ทำตัวเป็นฮีโร่ในทางที่ผิด
3.เรื่องของศักดิ์ศรีของสถาบันการศึกษา
4.การสร้างปมขัดแย้งของเด็ก โดยวิธีแก้ไข ไม่ใช่ต่อหน้าก็มาจับมือกัน แต่แท้จริงแล้วมือเย็นเฉียบ แต่เดี๋ยวก็ตีกันใหม่ แต่อยู่ที่การพัฒนาทักษะด้วยการสร้างฮีโร่รูปแบบใหม่ ไม่ใช่นำรุ่นพี่ที่ตีกันมาเป็นฮีโร่
ทั้งนี้ ต้องแยกรุ่นพี่เหล่านี้ออกจากรุ่นน้องเพื่อไม่นำเป็นแบบอย่าง และนำพลังที่มาใช้ตีกันสร้างสรรค์ความดีงาม
นายวิทยา แก้วภราดัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า การผลการศึกษาพัฒนาการและระดับสติปัญญาหรือไอคิวของเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง ล่าสุด ปี 2550 ลดลงเหลือ 68% จากเดิมที่ปี 2547 ลดลง 72% ซึ่งปัญหานี้ 70% เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูของครอบครัว ส่วนอีก 30% มาจากกรรมพันธุ์
ครอบครัว
ชี้!! การสัมผัสใกล้ชิดช่วยพัฒนาอีคิว
นพ.ชาตรี บานชื่น อธิบดีกรมสุขภาพจิต ระบุว่า นมแม่ช่วยในเรื่องการของที่เด็กโตขึ้นมาชอบทะเลาะวิวาทลดความขัดแย้งกัน เพราะจากข้อมูลวิชาการพบว่า นมแม่มีส่วนช่วยในเรื่องของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์หรืออีคิว
อีกทั้งการได้รับความรัก การสัมผัสใกล้ชิดจากมารดาขณะให้นมบุตรก็มีสานสัมพันธ์มีส่วนช่วยในการพัฒนาอีคิวด้วย ซึ่งแนวโน้มอีคิวของเด็กไทยน่าเป็นห่วงอย่างมาก เพราะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
เด็กตีกันเกิดจากปัจจัย 3-4 เรื่องได้แก่
1.ความแค้น โดยขาดการเจรจาต่อรอง ขาดอีคิวยับยั้งชั่งใจ
2.รุ่นพี่ทำตัวเป็นฮีโร่ในทางที่ผิด
3.เรื่องของศักดิ์ศรีของสถาบันการศึกษา
4.การสร้างปมขัดแย้งของเด็ก โดยวิธีแก้ไข ไม่ใช่ต่อหน้าก็มาจับมือกัน แต่แท้จริงแล้วมือเย็นเฉียบ แต่เดี๋ยวก็ตีกันใหม่ แต่อยู่ที่การพัฒนาทักษะด้วยการสร้างฮีโร่รูปแบบใหม่ ไม่ใช่นำรุ่นพี่ที่ตีกันมาเป็นฮีโร่
ทั้งนี้ ต้องแยกรุ่นพี่เหล่านี้ออกจากรุ่นน้องเพื่อไม่นำเป็นแบบอย่าง และนำพลังที่มาใช้ตีกันสร้างสรรค์ความดีงาม
นายวิทยา แก้วภราดัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า การผลการศึกษาพัฒนาการและระดับสติปัญญาหรือไอคิวของเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง ล่าสุด ปี 2550 ลดลงเหลือ 68% จากเดิมที่ปี 2547 ลดลง 72% ซึ่งปัญหานี้ 70% เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูของครอบครัว ส่วนอีก 30% มาจากกรรมพันธุ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น